ความต่างของระบบ PAL และ NTSC
NTSC VS PAL
หลาย ๆ คนที่ใช้พวกเครื่องเล่นเกมส์คอนโซล อย่าง Playstation เป็นต้นเนี่ยเคยสังเกตไหมครับ เกมส์ ก็ดี เครื่องเล่นก็ดี มักจะระบุถึง NTSC กับ PAL 2 ตัวนี้มันคืออะไร ? แล้วความเหมาะสมในการใช้สัญญาณภาพ 2 อย่างนี้ที่ว่า และก็บ้านเราใช้ระบบนี้ เพราะอะไร เหตุอะไร
NTSC หรือย่อมาจาก The National Television System Committee มีมาตั้งแต่ปี 2483 เป็นระบบสัญญาณภาพระบบแรกของโลก โดย FCC เป็นผู้กำหนดมาตราฐานสัญญาณภาพนี้ คุณสมบัติของ NTSC นั้นจะมีจำนวนเส้น 525 เส้น ส่วนจำนวนภาพต่อวินาที มีถึง 30 ภาพต่อวินาที ส่วนประเทศที่เหมาะกับระบบสัญญาณภาพนี้คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น พม่า สังเกตดี ๆ ครับ เครื่องเล่นเกมส์พวก Playstation มาจากประเทศใด ? ข้องสังเกตอีกประการนึงคือ ประเทศที่ใช้สัญญาณภาพ NTSC จะใช้กระแสไฟฟ้าในบ้านเพียง 110V/60Hz ( ถ้าเอาเลข 60 มาหาร 2 เท่ากับ 30 ใช่ไหม )
ในบ้านเราเองนั้นยุคแรก ๆ สมัยช่อง 4 บางขุนพรหม แม้แต่ช่อง ททบ.7 ก็เคยใช้ระบบสัญญาณภาพ NTSC ออกอากาศในยุคแรก ๆ
ส่วนระบบ PAL หรือย่อมาจาก phase alternation line ได้พัฒนาโดย Walter Bruch ชาวเยอรมัน ในปี 1963 ที่ได้เอาขั้วหลอดภาพ NTSC มากลับแล้วทำอะไร ... ต่อ
และปรับปรุงใหม่ เนื่องจาก NTSC แสดงสีไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ( ลองสังเกตดู ) ลักษณะของระบบ PAL มีเส้นมากถึง 625 เส้น แต่จำนวนภาพมี 25 ภาพต่อวินาที ( ถ้าเป็นฟิลม์ภาพยนตร์ ใช้ 24 ภาพต่อวินาที ) ประเทศที่ใช้ระบบภาพนี้ก็มีอย่างที่แน่ ๆ ก็พี่ไทย มีอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน เอาง่าย ๆ ว่า ทางยุโรป ทั้งนั้นแหละ
ถ้าหากว่าระบบโทรทัศน์ กับ เครื่องเล่นที่ต่อเข้าโทรทัศน์ ต้องเป็นระบบภาพเดียวกัน ถ้า PAL ก็ต้อง PAL กันทั้งคู่ หรือถ้าเป็น NTSC ก็ต้อง NTSC ทีนี้เนี่ย ถ้าเกิดว่าใครต่อเข้าไปแล้วเกิดภาพไว้ทุกข์ ( ขาว-ดำ ) ก็แนะว่าให้ปรับทีวี จะมีพวกโหมดภาพให้เลือกอย่าง PAL PAL60 NTSC SECAM เป็นต้น จะทำให้ท่านได้เล่นอย่างมีสีสัน
แล้ว NTSC กับ PAL อันไหนดักว่ากันหละ ก็ขอบอกว่า ถ้าเป็นเรื่องรายละเอียดจำนวนเส้นภาพ PAL ดีกว่าเพราะมี 625 เส้น ( ถ้าไม่รวมถึง SECAM ) แต่การบันทึกภาพนั้น ระบบ PAL จะใช้ม้วนเทปน้อยว่า NTSC ในเวลาที่เท่ากัน เพราะจำนวนภาพต่อวินาที PAL น้อยกว่า ใครใช้ NTSC บันทึกวีดีโอ ก็คงเปลืองกว่า PAL อีก แต่ทำไงได้ ถ้าหากท่านอยู่ญี่ปุ่น ก็ต้องทนจำเจกับระบบภาพ NTSC เพราะเรื่องกระแสไฟฟ้าใช้ไฟฟ้าปลอดภัยกว่า
ไหน ๆ ก็ไหน จะไม่พูดถึง SECAM เดี่ยวจะเคลียร์ไม่จบงาน ก็คือระบบนี้ย่อมาจาก Séquentiel couleur à mémoire ในปี 1956 ระบบนี้เหมือนเอาบางส่วนของ NTSC กับ PAL มารวมกัน ๆ แต่ไม่ค่อยนิยมเพราะ ใช้เส้นมากถึง 800 - 1000 เส้น ก็ตาม ใช้ไฟ 60Hz แต่ว่า ความถี่นั้น ใช้แถบความกว้างมาก จนมีช่องไม่กี่ช่อง ก็อาจจะไม่นิยมในบ้านเรา ก็มีฝรั่งเศส ประเทศแถบรัสเซีย หรือ ประเทศแถบผู้ก่อการร้าย และในแอฟริกา ยังใช้ระบบนี้
ก็เอามาลองอ่าน ๆ หละกันครับ
ตัวย่อ :
FCC ย่อมาจาก Federal Communications Commission
ข้อมูลจากเวป thaigaming.com ขอขอบคุณ wissarut สำหรับข้อมุล
หลาย ๆ คนที่ใช้พวกเครื่องเล่นเกมส์คอนโซล อย่าง Playstation เป็นต้นเนี่ยเคยสังเกตไหมครับ เกมส์ ก็ดี เครื่องเล่นก็ดี มักจะระบุถึง NTSC กับ PAL 2 ตัวนี้มันคืออะไร ? แล้วความเหมาะสมในการใช้สัญญาณภาพ 2 อย่างนี้ที่ว่า และก็บ้านเราใช้ระบบนี้ เพราะอะไร เหตุอะไร
NTSC หรือย่อมาจาก The National Television System Committee มีมาตั้งแต่ปี 2483 เป็นระบบสัญญาณภาพระบบแรกของโลก โดย FCC เป็นผู้กำหนดมาตราฐานสัญญาณภาพนี้ คุณสมบัติของ NTSC นั้นจะมีจำนวนเส้น 525 เส้น ส่วนจำนวนภาพต่อวินาที มีถึง 30 ภาพต่อวินาที ส่วนประเทศที่เหมาะกับระบบสัญญาณภาพนี้คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น พม่า สังเกตดี ๆ ครับ เครื่องเล่นเกมส์พวก Playstation มาจากประเทศใด ? ข้องสังเกตอีกประการนึงคือ ประเทศที่ใช้สัญญาณภาพ NTSC จะใช้กระแสไฟฟ้าในบ้านเพียง 110V/60Hz ( ถ้าเอาเลข 60 มาหาร 2 เท่ากับ 30 ใช่ไหม )
ในบ้านเราเองนั้นยุคแรก ๆ สมัยช่อง 4 บางขุนพรหม แม้แต่ช่อง ททบ.7 ก็เคยใช้ระบบสัญญาณภาพ NTSC ออกอากาศในยุคแรก ๆ
อ้างอิง:
สรุป NTSC - สัญญาณภาพ 525 line/60Hz - จำนวนภาพ 30 ภาพ / วินาที - ใช้ในประเทศที่ใช้ไฟ 110V/60Hz |
ส่วนระบบ PAL หรือย่อมาจาก phase alternation line ได้พัฒนาโดย Walter Bruch ชาวเยอรมัน ในปี 1963 ที่ได้เอาขั้วหลอดภาพ NTSC มากลับแล้วทำอะไร ... ต่อ
และปรับปรุงใหม่ เนื่องจาก NTSC แสดงสีไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ( ลองสังเกตดู ) ลักษณะของระบบ PAL มีเส้นมากถึง 625 เส้น แต่จำนวนภาพมี 25 ภาพต่อวินาที ( ถ้าเป็นฟิลม์ภาพยนตร์ ใช้ 24 ภาพต่อวินาที ) ประเทศที่ใช้ระบบภาพนี้ก็มีอย่างที่แน่ ๆ ก็พี่ไทย มีอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน เอาง่าย ๆ ว่า ทางยุโรป ทั้งนั้นแหละ
อ้างอิง:
สรุป PAL - สัญญาณภาพ 625 line/50Hz - จำนวนภาพ 25 ภาพ / วินาที - ใช้ในประเทศที่ใช้ไฟ 220V/50Hz |
แล้ว NTSC กับ PAL อันไหนดักว่ากันหละ ก็ขอบอกว่า ถ้าเป็นเรื่องรายละเอียดจำนวนเส้นภาพ PAL ดีกว่าเพราะมี 625 เส้น ( ถ้าไม่รวมถึง SECAM ) แต่การบันทึกภาพนั้น ระบบ PAL จะใช้ม้วนเทปน้อยว่า NTSC ในเวลาที่เท่ากัน เพราะจำนวนภาพต่อวินาที PAL น้อยกว่า ใครใช้ NTSC บันทึกวีดีโอ ก็คงเปลืองกว่า PAL อีก แต่ทำไงได้ ถ้าหากท่านอยู่ญี่ปุ่น ก็ต้องทนจำเจกับระบบภาพ NTSC เพราะเรื่องกระแสไฟฟ้าใช้ไฟฟ้าปลอดภัยกว่า
ไหน ๆ ก็ไหน จะไม่พูดถึง SECAM เดี่ยวจะเคลียร์ไม่จบงาน ก็คือระบบนี้ย่อมาจาก Séquentiel couleur à mémoire ในปี 1956 ระบบนี้เหมือนเอาบางส่วนของ NTSC กับ PAL มารวมกัน ๆ แต่ไม่ค่อยนิยมเพราะ ใช้เส้นมากถึง 800 - 1000 เส้น ก็ตาม ใช้ไฟ 60Hz แต่ว่า ความถี่นั้น ใช้แถบความกว้างมาก จนมีช่องไม่กี่ช่อง ก็อาจจะไม่นิยมในบ้านเรา ก็มีฝรั่งเศส ประเทศแถบรัสเซีย หรือ ประเทศแถบผู้ก่อการร้าย และในแอฟริกา ยังใช้ระบบนี้
ก็เอามาลองอ่าน ๆ หละกันครับ
ตัวย่อ :
FCC ย่อมาจาก Federal Communications Commission
ข้อมูลจากเวป thaigaming.com ขอขอบคุณ wissarut สำหรับข้อมุล
Post a Comment